วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2561

3.2โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


ครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การประกอบอาชีพของคนเรามีมากมายหลากหลายอาชีพ เช่น เกษตรกรรม การปศุสัตว์ การป่าไม้
การขนส่ง อุตสาหกรรม การค้าขาย การแกะสลักไม้ การเจียระไนพลอย การทอผ้า ฯลฯ อย่างไรก็ตาม
การทีจะคิดประกอบอาชีพใด ๆ นั้น จะต้องผ่านการศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ โดยมีข้อมูล ต่าง ๆ
อยู่มาก เพียงพอทีจะมาใช้ในการตัดสินใจประกอบอาชีพนันได้ เมือคิดแล้วก็ควรกำหนด ให้เป็น
ลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เห็นเป็นขันตอน แสดงถึงความต่อเนือง มองเห็นข้อบกพร่องหรือข้อมูลทีขาด
ไปได้ เพื่อความสมบูรณ์ของโครงการและแผนงานการดำเนินงาน
การจัดทำโครงการและแผนงานประกอบอาชีพ หรือโครงงานการประกอบอาชีพ มีความสำคัญ
และจำเป็นต่อการประกอบอาชีพเพราะถือว่าได้มีการคิดไตร่ตรองไว้ล่วงหน้าแล้ว จึงลงมือปฏิบัติ ความ
ผิดพลาดทังหลายย่อมน้อยลงโดยเฉพาะการวางแผนการดำเนินงานนั้นจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับแผนการผลิต แผนการลงทุน และแผนการตลาด
ประโยชน์ของโครงงานการประกอบอาชีพ
1. ทำให้การประกอบอาชีพบรรลุผลสำเร็จตามเป้ าหมายทีกำหนดไว้ มีระบบการทำงานและลด
การทำงานทีซ้ำซ้อนกัน
2. ช่วยให้การใช้ประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ช่วยให้เจ้าของกิจการมีความเชื้อมั่น ในการบริหารงาน และเมือเกิดปัญหาขึ้นเพราะมีการ
วางแผน และคิดอย่างรอบคอบมาแล้ว
4. ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถตรวจสอบขันตอนการดำเนินงาน และความสำเร็จของเป้าหมาย
องค์ประกอบของโครงการการประกอบอาชีพ
เมื่อตัดสินใจเลือกอาชีพ และมีการวิเคราะห์ความพร้อม และความเป็นไปได้ของอาชีพที่
ตัดสินใจเลือกแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การเขียนโครงงานการประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก การเขียน
โครงงานการประกอบอาชีพ มีองค์ประกอบหรือหัว ข้อที่ต้องเขียนดังนี้
1. ชื่อโครงงาน ควรตั้งชื่อโครงการที่สื่อความหมายได้ชัดเจน เช่น โครงการเลี้ยง ไก่กระทง
โครงงานขายผักปลอดสารพิษ โครงการจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป เป็นต้น
2. เหตุผล/แรงจูงใจในการทำโครงงาน ให้เขียนถึงเหตุผลทีเลือกทำโครงการนั้น เช่น เป็นอาชีพที่
เป็นความต้องการของตลาด/ชุมชน หรือตัวผู้ประกอบอาชีพมีความถนัด ความสนใจ ในอาชีพนั้น ๆ
อย่างไร เป็นต้น
3. วัตถุประสงค์ ให้เขียนวัตถุประสงค์ในการทำโครงการนั้นๆห้ชัดเจน เช่นเพื่อให้มีประสบการณ์ในการทำอาชีพนั้น ๆ หรือเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของตนเองในการประกอบอาชีพนั้น ๆ
4. เป้าหมาย ควรกำหนดเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพให้ชัดเจน เช่น การเลี้ยงไก่กระทง
จะเลี้ยง 5 รุ่น รุ่นละกี่ตัว
5. ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตังแต่เริ่มต้นจนสินสุดโครงการ ใช้เวลาดำเนินการนานแค่ไหน
เริ่มต้นโครงการเมื่อใด จะสิ้นสุดโครงการหรือขยายกิจการช่วงใด
6. สถานที่ประกอบการ ต้องระบุที่ตังของสถานที่ที่จะประกอบอาชีพนั้น              
7. การดำเนินงาน ให้เขียนแสดงขั้นตอนการดำเนินงานอย่างละเอียดตั้งแต่ขันวางแผนปฏิบัติการ
การปฏิบัติการตามแผน และประเมินปรับปรุง การเขียนแผนการดำเนินงานการประกอบอาชีพ ควรมี
องค์ประกอบหรือหัว ข้อ ดังนี้
7.1 แผนการผลิต ให้เสนอรายละเอียดว่าในการผลิต หรือขายสินค้าหรือบริการ ตามโครงการ
ที่กำหนดนั้น มีขั้นตอนการผลิตอย่างไร และกำหนดเวลาตามขั้นตอนนั้น ไว้อย่างไร
7.2 แผนการลงทุน ให้ระบุว่าที่มาของเงินทุนที่ใช้ในโครงการประกอบอาชีพนั้น ได้มาอย่างไร เงินทุนออกเอง หรือกู้ยืมมาจากแหล่งเงินทุนต่าง ๆ
7.3 แผนการตลาด ให้เสนอรายละเอียดว่าสินค้า หรือบริการในโครงการประกอบ อาชีพนั้น ๆ
มีลกู ค้าที่คาดหวังจำนวนเท่าใด และจะวางแผนเพื่อขยายตลาดให้ กว้างขวางขึ้น อย่างไร ในระยะเวลาใด
8. ปัญหาและแนวทางแก้ไข ให้ระบุปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับการประกอบอาชีพนั้น ๆ
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ แสดงใหเ้ห็นถึงผลของการดำเนินงานในการประกอบอาชีพในด้านต่าง ๆ
เช่น ด้านความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ ด้านกำไร และความพึงพอใจต่าง ๆ
10. ผู้รับผิดชอบดำเนินการ ระบุชื่อผู้ที่เป็นเจ้าของกิจการ หรือรับผิดชอบโครงการในกรณีที่มีผู้
ร่วมโครงการหลาย ๆ คน ก็ให้ชื่อผู้ร่วมโครงการทั้งหมดด้วย
การกำหนดโครงงานการประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก ก่อนการเริ่มต้นเขียนโครงงานการ
ประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก มีความจำเป็นต้องศึกษา รวบรวมข้อมลู ด้านต่าง ๆ ในอาชีพนั้น ๆ ดังนี้
1. ศึกษาสำรวจความต้องการของตลาด โดยการสำรวจสภาพ และความต้องการ ของชุมชน ที่จะ
เป็นแหล่งประกอบอาชีพเกียวกับ จำนวนประชากร ลักษณะเฉพาะของประชากรซึ่งประกอบด้วย เพศ
อายุ รายได้ อาชีพ ระดับการศึกษาความต้องการสินค้าและบริการในอาชีพนั้น ๆ จำนวนและอุปนิสัยใน
การซื้อของประชากรในพื้นที่ สภาพปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เช่น มีคู่แข่งขันขาย
สินค้าหรือบริการประเภทเดียวกันในพื้นที่นั้น เป็นต้น
2. ทำเลที่ตั้งกิจการ จะต้องพิจารณาว่า ทำเลที่ตั้งกิจการทีจะประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือกนั้น
มีลักษณะที่จำเป็นในสิ่งต่อไปนี้หรือไม่เพียงใด การคมนาคม ขนส่งสะดวกหรือไม่ สภาพแวดล้อม
เหมาะสมหรือไม่ มีคู่แข่งขันที่ขายสินค้าบริการ ประเภทเดียวกันหรือไม่ ถ้ามีจะแก้ปัญหาอย่างไร
3. สำรวจความพร้อมของตนเองในทุกด้าน เช่น ด้านความรู้ ความสามารถในอาชีพ ด้านปัจจัย
การผลิตต่าง ๆ ว่ามีความพร้อมหรือไม่ อย่างไร ถ้าไม่พร้อมจะแก้ปัญหาอย่างไร
4. ศึกษาความเป็นไปได้ของอาชีพ จะต้องพิจารณาว่าอาชีพที่เลือกนั้นจะทำให้รายได้มากน้อย
เพียงใด คุ้มกับทุนที่ลงไปหรือไม่ จะใช้เวลาเท่าใดจึงจะคุ้มทุน รายได้หรือกำไรเพียงพอจะเลี้ยงชีพ
หรือไม่ หากรายได้ไม่เพียงพอจะแก้ปัญหาอย่างไร เมื่อได้ศึกษารวบรวมข้อมลู ดังกล่าวแล้ว และเห็นว่ามี
แนวทางจะดำเนินโครงการได้ ก็เริ่มลงมือเขียนโครงการการประกอบอาชีพ ตามหัวข้อที่กำหนด
ตัวอย่าง การเขียนโครงงานการประกอบอาชีพ
1. ชื่อโครงการ โครงการจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป
2. ชื่อ ผู้ดำเนินโครงการ.......................................
3. ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ...........................
4. หลักการและเหตุผล อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคน เราต้องรับประทานอาหารทุกวัน
คนในหมู่บ้านของกลุ่มผู้ดำเนินโครงการส่วนใหญ่ประกอบอาชีพนอกบ้าน มักไม่มีเวลาประกอบอาหารเอง
ใกล้หมู่บ้านยังมีสำนักงานของเอกชนซึ่งมีพนักงานจำนวนมาก แต่ในบริเวณนี้มีร้านจำหน่ายอาหาร
สำเร็จรูปน้อยคุณภาพอาหารและการบริการไม่ค่อยดี ไม่มีร้านจำหน่ายอาหารสำเร็จรูปที่มีคุณภาพดี และ
ราคาปานกลาง สมาชิกของกลุ่มมีความสามารถในการประกอบอาหารได้ดี และบริเวณบ้านของสมาชิกมี
สถานที่กว้างเหมาะที่จะจัดเป็นร้านจำหน่ายอาหาร จึงได้จัดทำโครงการจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป
5. วัตถุประสงค์
. เพื่อให้มีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป
. เห็นช่องทางและมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป
. สามารถนำความรู้ทีได้จากการเรียนและประสบการณ์การปฏิบัติโครงงานอาชีพไปใช้
ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
6. เป้าหมาย
ด้านปริมาณ ปรุงและจำหน่ายอาหารสำเร็จรูปในวันเสาร์และวันอาทิตย์
ด้านคุณภาพ นักเรียนทุกคนในกลุ่มเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพและพัฒนาการ
ประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
7. ระยะเวลาดำเนินโครงการตลอดโครงการตังแต่เปิดภาคเรียนจนถึงปิดภาคเรียน
(20 พฤษภาคม -  กันยายน และ  พฤศจิกายน  มีนาคม )
8. สถานทีประกอบอาชีพ บ้านเลขที.....หมู่ที.....ตำบล............อำเภอ.............จังหวัด................. งบประมาณ
9. แหล่งเงินทุน เงินสะสมของสมาชิกกลุ่ม คนละ - บาท
9.1 จำนวนเงินทุนเริมโครงการ - บาท
9.2ทรัพย์สินถาวร โต๊ะ เก้าอี้ ถ้วย ชาม และเครื่องครัว ส่วนหนึ่งยืมใช้ชั่วคราว / จัดซื้อ
9.3 ทรัพย์สินสิ้นเปลือง อาหารสด ซื้อเป็นรายวัน
9.4 เงินทุนขยายกิจการ หากกิจกรรมประสบความสำเร็จก็จะนำกำไรมาขยายกิจการ
. กำไร (คาดการณ์) ในระยะเริมแรกมีกำไรประมาณวันละ - บาท
1. ขั้นตอนการดำเนินงาน
. การเตรียมการ
- ศึกษาสำรวจข้อมูล
- เขียนโครงการ
- ขออนุมัติโครงการ
- เตรียมหาทุน
- กำหนดรายการอาหารีจะปรุงจำหน่าย
- ประชาสมั พันธ์ให้ลูกค้าเป้าหมายทราบ
2 การเตรียมสถานที
- จัดตกแต่งสถานที
- เตรียมวัสดุอุปกรณ์
 ขันตอนการดำเนินงานอย่างละเอียด
- ศึกษาหาความรู้เบืองต้นเกียวกับการปฏิบัติงานอาชีพ
- ศึกษาสำรวจข้อมูลต่าง ๆ เพือสำรวจความสนใจประกอบการเลือกอาชีพ
- วิเคราะห์ข้อมูล
- ตัดสินใจเลือกอาชีพ
- ศึกษาวิธีเขียนโครงงานอาชีพ
- ขออนุมัติโครงงานอาชีพ
- ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
- กำหนดรายการอาหารที่ะจำหน่าย
- ประชาสมั พันธ์บอกกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
- เตรียมอุปกรณ์การปรุงอาหาร ภาชนะต่าง ๆ
- ตกแต่งสถานที่
- ลงมือปรุงอาหารจำหน่าย โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนการปฏิบัติหน้าที่ดังนี้
ซื้ออาหารสด
ตกแต่ง / ทำความสะอาดร้าน / ล้างภาชนะ บริการลูกค้า เก็บเงินทำบัญชี
- ประเมินการปฏิบัติงานเป็นรายวัน / รายสปัดาห์
- ประเมินสรุปเมือปฏิบัติงานเสร็จสิ้น
- เสนอแนะแนวทางการพัฒนาอาชีพ
. ปัญหาและแนวทางแก้ไข
. ปัญหา ที่เกิดขึ้นระห่างปฏิบัติงาน
1) ลูกค้ามีไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
2) ประสบการณ์ในการจำหน่ายสินค้าไม่เพียงพอ
.แนวทางแก้ไข
3) นำอาหารสำเร็จรูปใส่ถุงไปจำหน่ายตามบ้าน / ชุมชน
4) ขอคำแนะนำจากอาจารย์ทีปรึกษาเป็นระยะ
. ผลทีคาดว่าจะได้รับ
. ด้านความรู้และประสบการณ์ นักเรียนทุกคนมีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพ
เห็นช่องทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
.ด้านผลผลิต ทรัพย์สิน กำไร นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน ทำให้เห็นคุณค่าของการ
ประกอบอาชีพ แบ่งเบาภาระผู้ปกครอง
ลงชือผู้เสนอโครงการ…………………………………..
__ โครงการการประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดทำโครงงานการประกอบอาชีพ มีความสำคัญ และจำเป็นต่อการประกอบอาชีพเพราะถือว่า
ได้มีการวางแผน ก่อนลงมือปฏิบัติ ความผิดพลาดทังหลายย่อมน้อยลงโดยเฉพาะการวางแผนการ
ดำเนินงานนันจะมีความชัดเจนเกียวกับ แผนการผลิต แผนการลงทุน และแผนการตลาด การจัดทำ
โครงงานการประกอบอาชีพทีดี ย่อมทำให้การประกอบอาชีพบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายทีกำหนดไว้
มีระบบการทำงาน และลดการทำงานทีซำซ้อนกัน ทำให้การใช้ทรัพยากรเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้เจ้าของกิจการมีความเือมัน ในการบริหารงาน และเมือเกิดปัญหาขึนก็สามารถแก้ไขปัญหาได้
อย่างดี เพราะมีการวางแผน และคิดอย่างรอบคอบมาแล้ว ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถตรวจสอบ
ขันตอนการดำเนินงาน และความสำเร็จ ของเป้ าหมายได้อย่างต่อเนือง
การจัดทำโครงงานการประกอบอาชีพ สามารนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในการวางแผน การดำเนินงานได้ โดยจะเห็นได้ว่า เศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ คือหลักการ
ดำเนินชีวิตทีจริงแท้ทสุด กรอบแนวคิดของหลักปรัชญามุ่งเน้นความมัน คงและความยัง ยืนของการ
พัฒนา อันมีคุณลักษณะทีสำคัญ คือ สามารถประยุกต์ใช้ในทุกระดับ ตลอดจนให้ความสำคัญกับคำว่า
ความพอเพียง ทีประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกันทีดีในตัว ภายใต้เงือนไขของ
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมทีต้องอาศัยเงือนไขความรู้และเงือนไขคุณธรรมหรือทีเรียกว่า
3 ห่วง และ 2 เงือนไข ดังนี
ความพอประมาณ ได้แก่ เรียบง่าย ประหยัด การทำอะไรทีพอเหมาะพอควร สมดุลกับอัตภาพ
ศักยภาพของตนและสภาวะแวดล้อม ตามความสามารถของแต่ละคน พอประมาณกับภูมิสังคม
สิงแวดล้อม สถานการณ์ การทำงานทุกอย่างต้องเรียบง่าย ประหยัด อย่าทำงานให้ยุ่ง ทำให้ง่ายต่อการ
เข้าใจ มีกำหนดการทำงานตามลำดับขันตอน และมีการปฏิบัติชัดเจน เช่น การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ต้องรู้ว่านักศึกษาต้องการอะไร ผู้ใช้บัณฑิตต้องการอะไร เพราะทุกกิจกรรม ทุกงานทีทำมีต้นทุน
อย่าทำงานทิงๆ ขว้าง ๆ การทำงานต้องมีประโยชน์ มีผลผลิตทเกิดขึน
ความมเี หตุผล คือ การคิด ฟัง ปฏิบัติ การทำงานต้องใช้หลักความรู้ในการทำงาน วางแผนงาน
ต้องระมัดระวัง ต้องใช้หลักวิชาการช่วยสนับสนุน อย่าใช้ความรู้สึกและอารมณ์ในการทำงาน ทุกคนมี
ศักยภาพในการทำงาน การพัฒนาตัวเองต้องเกิดขนจากภายในตัวเองของแต่ละคน จึงต้องแสดงศักยภาพ
ออกมาให้ได้
มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวทีดี คือ ต้องมีแผนกลยุทธ์ เช่น เป็นอาจารย์ต้องมีแผนการสอน องค์กร
ต้องมีแผนกลยุทธ ์ เป็นต้น การทำงานต้องให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต้องมองภาพรวม ทุกคนมีส่วนร่วม คือ
การประสานงาน และการบูรณาการปรับวิธีการทำงาน หน่วยงานองค์กรต้องมีธรรมาภิบาลเพือเป็นการ
สร้างภูมิคุ้นกันภายในตัว
มีความรู้ การเรียนรู้เป็นอีกปัจจัยหนึงททุกคนมักจะมองข้ามไป เมือคิดว่าตนเองมีความรู้เพียงพอ
แล้ว แต่ในความเป็นจริงแล้ว ทุกอาชีพย่อมต้องมีการเรียนรู้อย่างต่อเนือง เพือเพิมพูนทักษะ เพือแสวงหา
ความรู้ใหม่ ความรอบรู้เกียวกับวิชาการต่าง ๆ ทีเกียวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบทีจะนำความรู้
เหล่านั􀀸นมาพิจารณาใหเ้ ชือมโยงกัน เพือประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขันปฏิบัติ หรือ
แม้แต่ให้ตนเองมีความตระหนักทีจะลับความรู้ของตนให้แหลมคมอยู่เสมอ เพอความก้าวหน้าในหน้าท
การงาน
มีคุณธรรม การประกอบอาชีพต้องสัมพันธ์เกียวข้องกับบุคคล สังคมและสิงแวดล้อมอย่าง
หลีกเลียงไม่ได้ เพือให้การประกอบอาชีพประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย ได้รับการสนับสนุนจาก
ผู้เก􀀷ียวข้อง ผู้ร่วมงาน และลูกค้า ผู้ประกอบอาชีพต้องมีคุณธรรม ดังนี
- ความขยัน อดทน คือความตังใจเพียรพยายามทำหน้าทการงาน การประกอบอาชีพ
อย่างต่อเนือง สมําเสมอ ความขยันต้องปฏิบัติควบคู่กับการใช้สติปัญญา แก้ปัญหาจนงานเกิดผลสำเร็จ
ผู้ทีมีความขยัน คือผู้ทีตังใจประกอบอาชีพอย่างจริงจังต่อเนอง ในเรืองทีถูกทีควร มีความพยายามเป็น
คนสู้งาน ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานทีทำ ตังใจทำหน้าทีอย่างจริงจัง
- ือสัตย์ คือการประพฤติตรง ไม่เอนเอียง จริงใจไม่มีเล่ห์เหลียมผู้ทีมีความซือสตั ย์ คือ
ผู้ทีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไม่คดโกง ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค ไม่ใช้วัตถุทีเป็นอันตราย และคำนึงถึง
ผลกระทบกับสภาพแวดล้อม
- ความอดทน คือ การรักษาสภาวะปกติของตนไว้ไม่ว่าจะกระทบกระทังปัญหา
อุปสรรคใด ผู้มีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปัญญาแล้ว ล้วนต้องอาศัย ขันติ หรือ
ความอดทนในการต่อสู้แก้ไขปัญหาต่างให้งานอาชีพบรรลุความสำเร็จด้วยกันทังสิ
- การแบ่งปัน / การให้ คือการแบ่งปันสิงทเรามี หรือสิงทีเราสามารถให้แก่ผู้อืนได้และ
เป็นประโยชน์แก่ผู้ทีรับ การให้ผู้อืนทีบริสุทธิใจไม่หวังสิงตอบแทนจะทำให้ผู้ให้ได้รับความสุขทีเป็น
ความทรงจำทียาวนาน การประกอบอาชีพโดยรู้จักการแบ่งปันหรือให้สิงต่าง ๆ ทีสามารถให้ได้แก่ลูกค้า
และชุมชนของเราย่อมได้รับการตอบสนองจากลูกค้าในด้านความเชือถือ
โครงงานการประกอบอาชีพ สามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการได้จริง
ดังจะเห็นได้ว่า เศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้ทำให้เราอยู่รอดไปวันๆ เท่านัน แต่จะทำให้เรามีความสุขอย่าง
ยัง ยืน และยังพัฒนาตนเองให้รำรวยขึนได้ด้วย ซึงเป็นการรำรวยอย่างยัง ยืนแบบพอเพียง เศรษฐกิจ
พอเพียง คือ การมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน ในด้านการบริหารธุรกิจ เราก็ต้องดูก่อนว่า
เป้าหมายธุรกิจของเราคืออะไร มีแผนการอย่างไร ในการดำเนินตามแผน โดยทีไม่ใช้จ่ายมากเกิน
ความจำเป็น แต่อะไรทีจำเป็ นเราก็ควรจะจ่าย อะไรทไม่จำเป็ นเราต้องลดรายจ่ายส่วนนันลง นก็เป็ น
การใช้จ่ายเงินด้วยความพอประมาณ
นอกจากนัน เราก็ต้องมีเหตุผลด้วย บริหารธุรกิจอย่างมีเหตุผลอะไรทีจำเป็นหรือไม่จำเป็นก็ต้อง
พิจารณาใหดี้ ไม่ใช่ว่าเห็นคนืนทำอะไรก็ทำตาม คนอืนโปรโมชัน พิเศษอืนๆ ก็ทำตามคนอืนโฆษณาก็
ทำตาม ซึงนีเป็ นการใช้ความรู้สึกนึกคิดตัดสินปัญหา ไม่ได้ใช้เหตุผลเลยดังนันเราต้องมีเหตุผลด้วย
ในการทำอะไรสักอย่างก็ต้องพิจารณาใหล้ ะเอียดถีถ้วนดูว่าเหมาะสมกับธุรกิจของเราหรือไม่ สมควรทำ
หรือไม่ และถ้าทำเช่นนันแล้วจะเป็นอย่างไร
เมือเรามีความพอประมาณ มีเหตุผล แล้วก็ต้องมีภูมิคุ้มกันด้วย ธุรกิจของเราจะมีภูมิคุ้มกันท
แข็งแรง จึงจะอยู่รอดได้อย่างยัง ยืนเพราะถ้าเราไม่มีภูมิคุ้มกันในด้านต่างๆ เวลาเกิดปัญหาอะไรขึนธุรกิจ
ของเราก็จะอ่อนแอลง กำไรลดลงกระแสเงินสดลดลง ถ้าถึงขันร้ายแรงอาจจะทำให้ธุรกิจจบลงไปเลยก็
เป็นได้ ตัวอย่างเช่น เรามีแผนธุรกิจและทุกอย่างเป็นไปตามแผน แต่เราก็ยังเตรียมแผนสำรองไว้ด้วย เผือ
เกิดความผิดพลาดหรือบางทีเราเห็นว่าธุรกิจของเรามีกระแสเงินสดทีไหลเวียนดี แต่เราก็ยังกันเงิน
บางส่วนไว้ เผอื เกิดปัญหาด้านการเงินซึงเราไม่ได้คาดคิด ...ดังทีกล่าวมาก็เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ
ธุรกิจของเราได้เช่นกัน
เศรษฐกิจพอเพียงจึงไม่ใช่เพียงแค่การปลูกพืช เลยงสัตว์ หรือการใช้ชีวิตตามชนบทเท่านั
แต่เราสามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาบริหารธุรกิจ เพอให้ธุรกิจของเราอยู่รอดและเติบโตอย่างยัง ยืน
ตลอดไป
การทำงาน จึงต้องยึดความพอเพียง ประกอบด้วย ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวทีดี มีกระบวนการพัฒนาทียึดคุณธรรม ความเพียร ความรอบรู้ ความซือสตั ย์สุจริตให้เข้า
จิตใต้สำนึก การทำงานกับมนุษย์ต้องใช้หลักการ หลักวิชาการใหส้ อดคล้องกับภูมิสังคม คือภูมิประเทศ
และสิงแวดล้อม ต้องปรับกระบวนการทำงาน การบริหารจัดการ ต้องคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การยอมรับจากเพือนร่วมงานในองค์กร เพือขับเคลือนการทำงานให้ไปสู่ความสำเร็จ เพือให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ทีกำหนดไว้__




























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น